สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง : การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบนักวิจัยที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ปริญญานิพนธ์ของ : ชยุดา พยุงวงษ์
บทนำ
การเรียนทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์จะสร้างให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีเหตุผล คิดเป็น
สังเกตเป็น เป็นพื้นฐานของการส่งเสริมเด็กให้มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ รู้จักการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมรอบตัวอย่างมีความหมาย ด้วยการสังเกต การทดลอง และการตอบคําถาม
ประสบการณ์ ทักษะทางวิทยาศาสตร์ จะช่วยให้เด็กได้รู้จักสิ่งรอบตัว เข้าใจโลกที่เป็นอยู่ รู้จัก
วิเคราะห์ การจําแนก รวมถึงการเรียนรู้ การแก้ปัญหา
จุดมุ่งหมาย
1. เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการ
จัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการ
เรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองและหลังทดลอง
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปีที่กําลัง
ศึกษาอยในชั้นอนุบาล3 ภาคเรียนท 1 การศึกษา 2551 โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อําเภอ
บางละมุง จังหวัดชลบุรี สํากัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จํานวน 156 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้นการศึกษานี้คือ เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กําลัง
ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล ที่ 3 ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนอนุบาลทนาพรวิทยา อําเภอ
บางละมุง จังหวัดชลบรุ ีสํากัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่าง
ง่ายด้วยการจับสลาก 1 ห้องเรียน จากจํานวน 4 ห้องเรียน และจับสลากนักเรียนจากห้องที่จับสลาก
ได้จํานวน 20 คน เป็นกลุ่มทดลอง
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรจัดกระทํา ได้แก่ การจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 5 ด้าน ดังนี้
2.1 ทักษะการสังเกต
2.2 ทักษะการจําแนกประเภท
2.3 ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล
2.4 ทักษะการลงความเห็น
2.5 ทักษะการพยากรณ์นิยามศัพท์
การดำเนินการ
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ
1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
2. แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย
วิธีดําเนินการทดลอง
การวิจัยครั้งนี้ดําเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 เป็นเวลา 8 สัปดาห์เรื่องใช้เวลา 2 สัปดาห์ จํานวน8 วัน วันละ 30-40 นาที รวม 32 ครั้ง ในช่วงกิจกรรมเสริม
ประสบการณ์ในช่วงเวลา 9.30 – 10.15 น. โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ผู้วิจัยสร้างความคุ้นเคยกับกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา 1 สัปดาห์
2. ผู้วิจัยทําการทดสอบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนการทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง เป็นเวลา 3 วัน ได้แก่ วันจันทร์ อังคาร พุธ จากนั้นนํามาตรวจให้ คะแนนตามเกณฑ์ และเก็บคะแนนไว้เป็นหลักฐาน
3. ผู้วิจัยดําเนินการทําลองในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบเด็กนักวิจัย ใช้เวลา 8 สัปดาห์ เรื่องละ 2 สัปดาห์ จํานวน 8 วัน วันละ 30 – 45 นาที ช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์เวลา 9.30 – 10.15 น.
สรุปการวิจัย
จากการวจิัยครั้งนี้เป็นการศึกษาทักษะกระบวนการวทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยที่ได้รับการ
จัดการเรียนรแบบเด็กกนักวิจัยมีความมุ่งงหมายของการวิจั คือ เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกาเรียนรู้แบบเด็กนักวจัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น